แผนที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้โครงงานภาษาอังกฤษ เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
เรื่อ The best of my local ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 2 ชั่วโมง
.........................................................
สาระสำคัญ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่มีความสำคัญและควรที่จะอนุรักษ์ไว้ให้ลูกหลานรุ่นหลังได้ศึกษาหาความรู้ แล้วจะได้นำมาประยุกต์ใช้และสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกทางหนึ่ง
แผนการจัดการเรียนรู้นี้เป็นแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ซึ่งเนื้อหาของโครงงานเป็นการระดมความคิดระหว่างครูผู้สอนและนักเรียนจนได้ชื่อเรื่องหลัก คือ The best of my local ซึ่งก็เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและอาชีพที่สร้างรายได้ให้กับชุมชนนั่นเอง
เพื่อพัฒนานักเรียนและฝึกฝนทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านระเบียบวินัย
ด้านความรับผิดชอบ ด้านการทำงานร่วมกับผู้อื่นและด้านรักการอ่าน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์หาจุดเด่นของชุมชนของตนได้
2. นักเรียนช่วยกันทำ mind
mapping ได้อย่างถูกต้องและสวยงาม
3. นักเรียนสามารถนำเสนอ
mind mapping ได้อย่างถูกต้อง
4.
นักเรียนสามารถนำเสนอองค์ความรู้ที่ตนสร้างขึ้นและแปลเป็นภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้อง
5.
นักเรียนมีทักษะด้านการทำงานร่วมกับผู้อื่นและมีวิธีการดำเนินโครงงานที่เป็นระเบียบเป็นขั้นตอน
สาระการเรียนรู้
จากการระดมความคิดของนักเรียนและครูผู้สอนเกี่ยวกับจุดเด่นของชุมชนของนักเรียนเพื่อนำมาศึกษา
มีดังนี้
.....................................................................................................................................................
|
.................................................................................
|
The best of my
local
จุดเด่นของชุมชน
|
..................................................................................
|
...................................................................................................
|
.................................................................................
|
..................................................................................................................................................
|
............................................................................................................
|
การบูรณาการกับเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
นักเรียนศึกษาและทำงานเสร็จพอดีกับเวลาที่กำหนดให้
2. ความมีเหตุผล
นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์ความรู้ที่ศึกษาค้นคว้ามาได้อย่างเหมาะสม
3.
การมีภูมิคุ้มกันในตัว
นักเรียนนำวิธีการศึกษาและวิธีคิด ไปศึกษาและคิดเรื่องอื่น ๆ ได้อย่างเหมาะสม
4. เงื่อนไขความรู้
นักเรียนมีความรู้ สามารถเข้าใจเรื่องที่เรียนและจำได้แม่นยำ
5. เงื่อนไขคุณภาพ
นักเรียนมีมารยาทในการสื่อสาร
มีความสามัคคี มีวินัยและมีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
สื่อและแหล่งเรียนรู้
1.
แหล่งเรียนรู้ภายในชุมชนของนักเรียนเอง
2. กระดาษปรุ๊ฟ
3. ปากกาเคมี
4. สีเทียนและสีไม้
5. สลาก
กระบวนการเรียนรู้
1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีในชุมชนของนักเรียนเองรวมทั้งอาชีพที่สร้างรายได้ให้กับชุมชนว่ามีอาชีพอะไรบ้าง
2.
ขั้นตกลงกระบวนการเรียนรู้
ครูและนักเรียนร่วมกันตกลงเกี่ยวกับกิจกรรมที่นักเรียนต้องปฏิบัติได้แก่
การแบ่งกลุ่มศึกษา การจัดทำ Mind mapping การนำเสนอผลงานและการอภิปรายหลังการนำเสนอผลงาน
3. ขั้นเสนอความรู้
ครูนำเสนอความรู้เกี่ยวกับวิธีการศึกษาค้นคว้า
การจัดการกับความรู้ที่ศึกษาค้นคว้ามาได้
รวมทั้งขั้นตอนและวิธีการจัดแสดงผลงานและเสนอผลงาน
4. ขั้นฝึกทักษะ
นักเรียนเข้ากลุ่ม กลุ่มแบบ Co-op Co-op กลุ่มละ 6 คน เป็น 7 กลุ่ม
นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิดเกี่ยวกับภูมิปัญญาในท้องถิ่นและอาชีพที่สร้างรายได้ให้กับชุมชนของตนแล้วช่วยกันสรุปโดยย่อว่าภูมิปัญญาในท้องถิ่นและอาชีพที่สร้างรายได้ให้กับชุมชนของตนนั้นมีความเป็นมาอย่างไร
เขียนลงในกระดาษปรุ๊ฟด้วยปากกาเคมี เพื่อเตรียมนำเสนอต่อไป ( 20 นาที )
5.
ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้
จับสลากลำดับกลุ่มแล้วจึงให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มที่ได้จากการจับสลากมานำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนจนจบทุกกลุ่ม
( 15 นาที )
6. ขั้นสรุปความรู้
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องทั้งหมด
( 10 นาที )
6.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มจัดทำ
Mind mapping เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นหรืออาชีพที่สร้างรายได้ในชุมชนลงบนกระดาษปรุ๊ฟและตกแต่งด้วยสีเทียนแล้วนำเสนอผลงานด้วยตัวแทนที่ได้จากการจับสลากแล้วครูและนักเรียนช่วยกันสรุป
( 1 ชั่วโมง )
6.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายและเสนอแนะร่วมกับครูเกี่ยวกับผลงานของแต่ละกลุ่มที่นำเสนอไปแล้ว
( 10 นาที )
การวัดผลประเมินผล
1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และผลงาน
2.
การประเมินผลงานของนักเรียน
เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนแบบรูบริคสกอร์
2. การประเมินคุณภาพของผลงาน
คุณลักษณะที่ต้องการ
1. มีความประหยัด
2.
เห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียน
3. มีความรับผิดชอบ
4 . มีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
5.
มีวินัยในตนเอง
6. รักการอ่าน
เกณฑ์การประเมินผล
นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ
80 จึงถือว่าผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ที่กำหนดไว้
บันทึกผลหลังจัดกิจกรรม
...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................ครูผู้สอน/ผู้บันทึก
(นายวิไล พลเสนา)
ผลการตรวจสอบแผน
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..............................................ผู้ตรวจสอบ
(.....................................................)
ตำแหน่ง......................................................
การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนระหว่างเรียน
หลักการประเมิน การประเมินครั้งนี้จะทำการประเมินเป็นกลุ่มโดยครูผู้สอนจะเป็นผู้ประเมินตามเกณฑ์ประเมิน ดังนี้
4 หมายถึง ดีเยี่ยม 3 หมายถึง ดี 2
หมายถึง พอใช้ 1 หมายถึง ควรปรับปรุง
กลุ่ม
|
ความขยันอดทนและตั้งใจทำงาน
A
|
ความมีวินัยในการทำงานให้เสร็จทันเวลาสะอาดและถูกต้อง
A
|
ทักษะในการทำงานร่วมกันและความสามัคคี
A
|
มีมารยาทในการสื่อสาร
A
|
การนำเสนอผลงานได้ตามลำดับเหตุการณ์
P และ
K
|
รวม
|
1
|
|
|
|
|
|
|
2
|
|
|
|
|
|
|
3
|
|
|
|
|
|
|
4
|
|
|
|
|
|
|
5
|
|
|
|
|
|
|
6
|
|
|
|
|
|
|
7
|
|
|
|
|
|
|
ข้อเสนอแนะ
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.....................................ผู้ประเมิน
(นายวิไล พลเสนา)
แบบประเมินคุณภาพของผลงานนักเรียน
หลักการประเมิน การประเมินครั้งนี้จะทำการประเมินเป็นกลุ่มโดยครูผู้สอนจะเป็นผู้ประเมินตามเกณฑ์ประเมิน ดังนี้
5 หมายถึง มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 4 หมายถึง มีคุณภาพอยู่ในระดับดี
3 หมายถึง มีคุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง 2 หมายถึง มีคุณภาพอยู่ในระดับน้อย
1 หมายถึง มีคุณภาพอยู่ในระดับน้อยที่สุด
กลุ่ม
|
เนื้อหาครบถ้วน
|
ภาษาที่ใช้เหมาะสม
|
รูปแบบการนำเสนอน่าสนใจ
|
มีการลำดับเหตุการณ์
|
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
|
รวม
|
1
|
|
|
|
|
|
|
2
|
|
|
|
|
|
|
3
|
|
|
|
|
|
|
4
|
|
|
|
|
|
|
5
|
|
|
|
|
|
|
6
|
|
|
|
|
|
|
7
|
|
|
|
|
|
|
ข้อเสนอแนะ
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.....................................ผู้ประเมิน
(นายวิไล พลเสนา)
แผนผังการเรียนรู้ที่ 1
แผนผัง
หัวข้อโครงงานที่เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและอาชีพที่สร้างรายได้ในชุมชน
…………………………………………………………………………..
|
………………………………………………………………………………………………..
|
The best of my
local
จุดเด่นของชุมชน
|
.........................................................................................................
|
เศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพ่อ
Economic
sufficiency
|
.......................................................................................................
|
..............................................................................................................................................
|
.......................................................................................................
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น